top of page
titanlogo2.png

Opening hours

10:00- 17:00

Friday-Sunday

  • Facebook
  • Instagram
To use Nakorn Ok.jpg

NAKORN OK

Nakorn OK, Navin Productions

 

Technique : Oil Painting mural

 

Size : 15.0 x 5.0 Meters

 

2560

“Nakorn OK” a 15-meter-long billboard painting by Navin Rawanchaikul, Thai artist with Indian descendant from Chiangmai, and his team from Navin Production.  The piece narrates the life of the community of old town Songkhla, home to a busy trade port, Songkhla has a long history of foreign settlement stretching back to the 17th century, when Persian Muslim merchants founded the Sultanate of Singora. Later came the arrival of Westerners and an influx of Chinese migrants. 

 

Today, the Old Town’s charming mix of Chinese and European-style shophouses and modern buildings testify to this blend of cultures, although recent years have seen parts of it being destroyed in the name of progress. Having delved into the city’s past and present, and interviewed members of the local community over the past year, Rawanchaikul and his Navin Production team from Studio OK Chiang Mai will present new works exploring these themes at two formerly disused venues, an old cinema and shophouse, both in the city's Old Town.

 

The piece was once displayed at the Saha Cinema (Saha Phapayon) is a stand-alone cinema built in 1930, as part of “Nakorn OK (Singora Diary)” Exhibition in 2016, before becoming a permanent collection at Titan project Space.

To use OK.png

 

ARTIST'S NOTE

    “คุณเป็นคนเขียงใหม่แล้วมาทำอะไรที่สงขลา"   ผมถูกถามในที่ประชุม ท่ามกลาง

เจ้าหน้าที่และขาวสงขลาหลากหลายอาชีพ ที่เข้าร่วมหารือการจัดงานถนนคนเดินย่านเมืองเก่า 

ซึ่งจริงๆแล้วไม่เกี่ยวอะไรกับผมเลย

 

วันรุ่งขึ้นผมเดินทางกลับเชียงใหม่พร้อมกับความผิดหวัง ที่จะได้รับทุนสนับสนุนโครงการ

ศิลปะซึ่งกำลังเตรียมทำที่สงขลา แต่ผลจากความเห็นต่างในที่ประชุมวันนั้นก็ทำให้ผมได้

ทบทวนจุดประสงค์ของการทำงานครั้งนี้

 

ย้อนไปเมื่อเดือนกันยายนปีที่แล้ว ผมมาสงขลาเพื่อเยี่ยมเพื่อนเก่าจากกรุงเทพฯ ผู้หลงรัก

เมืองนี้จนถึงกับย้ายมาอยู่ ระหว่างทัวร์ชิมอาหารอร่อยในย่านเมืองเก่า เพื่อนทั้งสองก็แนะนำ

ให้ผมรู้จักสมาชิกชุมชน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุทุกคนใหรารต้อนรับอย่างอบอุ่น ผมก็

เพลิดเพลินไปกับเมนูต่างๆ และได้ฟังเรื่องเล่าของแต่ละร้านที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน รวมถึง

ความเป็นมาของเมืองทำเก่าแก่แห่งนี้ ที่ครั้งหนึ่งเคยมีชื่อว่าเมืองชิงกูร์ หรือชิงกอร่า

 

การมาเยือนสงขลาคราวนั้น ผมเห็นความคล้ายคลึงกันกับตลาดวโรรสของซียงใหม่ ชุมชนที่ผม 

เกิดแล้เติบโตมา ทั้งทั้งรูปแบบของอาคารบ้านเรือนและวิถีชีวิตชุชนค้าขาย ที่ผสมผสานกลุ่ม

ชาติพันธุ์อันหลากหลาย ทำให้ผมสนใจอยากทราบความเป็นมาและสำรวจความเห็นต่อ

การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของผู้คนผ่านยุคสมัย ผมเห็นร้านค้าเล็กๆ ในเมืองนี้ ก็ทำให้นึกถึง  

”ร้านโอเค"  ร้านขายผ้าของพ่อที่ตลาดเชียงใหม่ ซึ่งวันหนึ่งอาจหลงเหลือแค่ภาพและความทรงจำ

 

หนึ่งเดือนต่อมา ผมกลับมาสงขลาพร้อมทีมงานอีกเกือบสิบคน เราได้ตระเวนบันทีกภาพอาคาร

บ้านเรือนและสัมภาษณ์ผู้คนย่านเมืองเก่า พร้อมๆ กับไปทัวร์ชิมอาหารอีกครั้ง ตลอดช่วงระยะเวลา 

9 วัน ของการมาเยือนสงขลาครั้งที่สองนั้น ผมก็ได้เขียนบันทึกไว้ทุกวัน และโพสต์รูปบางส่วน

ลงเฟสบุ๊คส่วนตัว ก็เลยคิดตั้งชื่อโครงการสำหรับเมืองสงขลาครั้งนี้ว่า  "ชิงกอร่า ไดอารี่”

หลังจากกกลับไปเชียงใหม่ ผมก็เริ่มร่างภาพจากบันทึกและภาพถ่ายเหล่านั้น ออกแบบคล้ายกับโปสเตอร์

โฆษณาหน้งในอดีต โคยเรื่องราวและนักแสดงที่ปรากฎในภาพก็มาจากชุมชนย่านเมืองเก่าที่ผมได้

ไปพบมานั่นเอง ผมจึงได้ตั้งชื่อภาพยนตร์ชีวิตจริงเรื่องนี้ว่า "ชิงกอร่ำ นครเหนือกาลเวลา"

 

ขณะนั้นป็นช่วงเวลาคาบเกี่ยวที่ผมกำลังจัดงานที่เชียงใหม่ ซึ่งหนึ่งในนั้นเป็นนิทรรศการ

ที่จัดขึ้นที่ร้านของพ่อ ผลงานหลายชิ้นที่สร้างขึ้นก็เสมือนการบันทึกประวัติศาสตร์ของครอบครัว

ตัวเอง ชื่อ “ร้านโอเค" ของบรรพนุรุษก็ได้ส่งต่อมาสู่ ชื่อสตูดิโอใหม่ของผมและทีมงานในนาม

"สตุดิโอเค" ความหมายของคำว่ "โอเค" ในมิติต่างๆ ก็ได้ถูกนำเสนอผ่านงานศิลปะของ

พวกเราจากนั้นเรื่อยมา

 

หลายเตืนต่อมา วันหนึ่งที่ผมอยู่ในภาวะที่ผมไม่โอเคอีกครั้ง และมีแต่คำถามว่าทำไม ทำไม ทำไม

การกลับไปอ่านบันทึกที่เคยเขียนไว้ที่สงขลา ทำให้ได้คิดทบทวนหลายๆเรื่อง ดูภาพวาดที่เขียน

ค้างไว้ก็นึกถึงช่วงเวลาที่เราได้ใช้ติลปะในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และบันทึกเรื่องราว

ของผู้คนที่อยู่นอกเหนือวงการศิลปะ จึงย้อนกลับมาคิดถึงบทบาทตัวเองและคุณค่าของงานที่ทำ

การรับรู้ข่าวการจากไปของยายขายกล้วยปิ้งที่ถนนนครใน และป้าคนสวยที่ขายขนมข้าวฟ่าง

บนถนนนางงาม รวมถึงยายเจ้าของร้านถ่ายรูปชื่อดังในอดีตของสงขลาที่ผมอยากพบ แต่มา

ทราบอีกทีทำนก็จากโลกนี้ไปแล้ว ทำให้ผมคิดว่าค้องทำงานนี้ต่อให้ลุล่วง จึงกลับมาสำรวจ

ความคิดและพัฒนาโครงการที่ค้างไว้ แล้ววันหนึ่งผมก็ตัดสินใจเปลี่ยนชื่อเรื่องของภาพนี้เป็น

"นครโอเค" ด้วยเหตุผลเพราะว่า ผมเห็นความโอเคในการมาเยือนชุมชนนี้

 

นอกเหนือจากภาพใหญ่ที่จัดแสดงอยู่หน้าวิกสหภาพยนตร์ โรงหนังเก่าแก่ของเมืองสงขลาที่

ปิดกิจการไปแล้ว ผมยังได้สร้างผลงานอีกขึ้นที่ประกอบด้วยภาพเล็กๆ ต่างรูปทรงและขนาด

กว่า 70 ขึ้น เสมือนการปะติดปะต่อการเดินทางและบทบันทึกส่วนตัว กับเรื่องราวของชุมชนเมือง

ผ่านกาลเวลา ผมจึงได้เลือกใช้ชื่อที่เคยตั้งไว้สำหรับภาพวดขึ้นนี้ว่า "ชิงกอร่า ไดอารี่”

 

การกลับมาสงขลาของผมพร้อมกับผลงานศิลปะชุดนี้ ทำให้ย้อนถึงอีกคำถามในห้องประชุมวันนั้น

ว่า “แล้วทำไปทำไม" ผมมีคำตอบที่ชัดเจน แต่คงไม่สำคัญ เท่ากับสิ่งที่ผมได้เรียนรู้จากชุมชนแห่งนี้

 

ขอบคุณเพื่อนทั้งสองที่ทำให้ผมค้นพบนครโอเด ขอบพระคุณพ่อที่เป็นตัวอย่างของคำว่าโอเคใน

การดำเนินชีวิต ขอบคุณสมาชิกชุมชนทุกคนที่ร่วมด้วยช่วยกันทำงานนี้ให้โอเค สุดท้ายก็หวังว่า

ศิลปะที่ผมและทีมงานสร้างขึ้นในงานนี้ จะก่อประโยชน์บ้าง ถึงม้ว่าผมขะไม่ใช่คนสงขลา

 

 

นาวิน ลาวัลย์ชัยกุล

20 สิงหาคม 2559

To use Outline.png

1.

ศิลป์ เชิญสวัสดิ์.

2.

นวลอำไพ เชิญสวัสดิ์

3.

ป้าเล็ก 

4.

นางยุกต์ แสงจันทร์ (ฉียุกต์)

5.

สาธิมน เรียงธรรมรัฐ

6.

ประเสริฐ เรืองธรรมรัฐ

7.

อภินันท์ ตันรัตนพงศ์

8.

น้องเอแคร์

9.

สุประดิษญ์ สังข์สุวรรณ

10

วิลาวรรณ ตันรัตนพงศ์

11.

กู้ปุ่น   แซ่ตัน

12.

ครอบครังเกียดฟั่ง

13.

ยุวดี จิระธัญ(ป้าติ)

14.

ครอบครัวเกียดฟั่ง (โกยาว) อุ้มเจ้าแคนดี้ (แมว)

15.

ครอบครัวเกียดฟั่ง (โกยาว)

16.

คุณฉวรรณา กิติคุณ

17.

คุณพิเนต กิติคุณ

18.

ทรัพย์ อดุลย์พันธ์

19.

นางประจวบ

20.

มนัสนันท์ ธนานุสนธิ์

21.

อาก๋งฮ่องเม่า

22.

อารี ธนานุสนธิ์

23.

มิตร ชัยบัญชา

24.

ลุงบรรเทา

25.

ด.ต. ถาวร  วรรณวิไล

26.

ราตรี วรรณวิไล

27.

ชาญ ศิริคะรินทร์

28.

ปกรณ์ รุจิระวิไล

29.

ปัญญา พูลศิลป์

30.

รังษี รัตนปราการ

31.

นายไพโรจน์

32.

ร้านแต้เฮี้ยงอิ๊ว

33.

สุดา สโรชานนท์

34.

เครือรัตน์ สโรชานนท์

35.

คุณยายยุพา อรุณรัตน์

36.

จักรกฤษณ์ ภัทรนิตย์

37.

สนิท อรุณรัตน์

38.

ยุพา อรุณรัตน์

39.

นายนาวิน ลาวัลย์ชัยกุล

40.

นายสุพิชา เทศดรุณ

GALLERY

bottom of page